[maxmegamenu location=max_mega_menu_5]
[maxmegamenu location=max_mega_menu_5]
[maxmegamenu location=max_mega_menu_4]
ประสาทวิทยาศาสตร์ : ความรุนแรง และอาชญากรรม
รศ. ดร. นพ.วรสิทธิ์ ศิริพรพาณิชย์
ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
ข่าวมากมายเกี่ยวกับความรุนแรงและอาชญกรรม เป็นสิ่งที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้นกับตนเอง คนในครอบครัว หรือแม้กระทั่งบุคคลที่ไม่เคยรู้จักมาก่อนก็ตาม หากจะวิเคราะห์ถึงปรากฏการณ์ของความรุนแรงที่เกิดขึ้นนั้น อาจจะมีสาเหตุมาจากหลายด้าน ทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ สภาพครอบครัว หรือสภาพสังคมที่หล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมรุนแรงโดยที่เขาเองก็อาจไม่รู้ตัว
[maxmegamenu location=max_mega_menu_5]
[maxmegamenu location=max_mega_menu_4]
ปัญหานอนไม่หลับ แก้ไขอย่างไรดี
รศ. ดร. นพ.วรสิทธิ์ ศิริพรพาณิชย์
ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
การนอนไม่หลับถือเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญมาก เพราะคนส่วนใหญ่ต่างก็เคยประสบกับปัญหานอนไม่หลับกันมาแล้วทั้งนั้น แต่ภาวะนอนไม่หลับนั้นไม่ใช่ตัวโรค เป็นเพียงอาการที่อาจจะเกิดจากปัญหาสารพัดที่ท่านต้องเผชิญมาตลอดทั้งวัน แล้วยังมาทำให้ท่านต้องคิด ต้องกังวลต่อในตอนกลางคืน จนนอนไม่หลับ แต่เมื่อทุกอย่างคลี่คลาย ท่านก็จะสามารถกลับมานอนหลับได้ตามปรกติ แต่ในทางตรงกันข้าม อาการนอนไม่หลับก็อาจจะเป็นอาการที่ฟ้องว่าตัวท่านกำลังเป็นโรคบางอย่างได้เช่นกัน
[maxmegamenu location=max_mega_menu_5]
[maxmegamenu location=max_mega_menu_4]
ฝุ่นละออง PM 2.5 กับผลกระทบต่อการเจริญพัฒนาสมองของทารกในครรภ์
ผศ. ดร. กิตติคุณ วิวัฒน์ภิญโญ
ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล ม.มหิดล
ในระยะ 4-5 ปีที่ผ่านมานี้ ทั่วโลกเริ่มรายงานผลการวิจัยผลกระทบของปริมาณ PM 2.5 ต่อสมองและระบบประสาทที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คนกลุ่มหนึ่งที่น่าจะได้รับผลกระทบจาก PM 2.5 ที่มากกว่าคนกลุ่มอื่น คือ กลุ่มสตรีมีครรภ์ โดยสารพิษที่อยู่ในฝุ่นละอองขนาดจิ๋วนี้อาจแพร่เข้าสู่กระแสเลือด ผ่านเนื้อเยื่อของรกและสู่ทารกในครรภ์ ซึ่งส่งผลเสียต่อพัฒนาการของสมองได้
[maxmegamenu location=max_mega_menu_5]
[maxmegamenu location=max_mega_menu_4]
มหัศจรรย์จุลินทรีย์ในโลกมืด
อภิรักษ์ วิเศษชาติ และ ผศ. ดร. กุศล ภูธนกิจ
เห็นจะจริงที่ว่า “เราอาศัยอยู่บนโลกของจุลินทรีย์” เพราะปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ไม่มีพื้นที่ไหนปราศจากสิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้ นับตั้งแต่อากาศ ไปจนถึงใต้มหาสมุทรอันลึกสุดประมาณ หรือแม้แต่ร่างกายของเราต่างก็เป็นแหล่งอาศัยชั้นเลิศของชีวิตเล็กๆเหล่านี้ แม้ว่าความสามารถในการมองเห็นของตามนุษย์ จะไม่สามารถมองเห็นสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ได้ จนกลายเป็นความเคยชินที่เราอาจมองข้าม ไม่เห็นความสำคัญ แต่คุณรู้หรือไม่ว่า ชีวิตเล็กๆเหล่านี้เป็นฟันเฟืองสำคัญที่ทำให้โลกเป็นโลกที่เราอาศัยอยู่ได้ในทุกวันนี้
Read more
[maxmegamenu location=max_mega_menu_5]
[maxmegamenu location=max_mega_menu_4]
เผยโฉมโคโรนาไวรัส สายพันธุ์เบงกอล กลายพันธุ์ 3 ตำแหน่ง
Asst. Prof. Duangrudee Tanramluk, Ph.D.
Molecular Medical Biosciences Cluster
Bioinformatics reveals the structure of Coronavirus spike protein from West Bengal and what the triple mutations might imply.
Our website uses cookies to provide you with a better online experience. Please select “Allow” or Cookie Settings to set your cookie preferences. Read information at: Privacy Policy
![]() ![]() ![]() |
25/25 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom 73170, Thailand. Tel: 66 (0) 2441-9003 to 7, Fax : 66 (0) 2441-1013 |