พันธกิจ 2 : วิจัย จรณทักษะ (soft skill) สำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ 28th October 2019, Prof. Duncan R. Smith has invited Dr. Lukkana Suksanpaisan who is a Principal Scientist at Imanis Life Sciences, USA, as a guest speaker for the seminar, “Professional Conversation skills for students”. Moreover, there are 2 topics in this seminar which are “How to write a successful CV, what an employer is looking for, and what to prepare for an interview”, which will be spoken by Dr. Lukkana Suksanpaisan. The second one is “Professional emails: Do’s and Don’ts”, which will be spoken by Prof. Duncan Richard Smith. September 30th 2019 30th April 2019 Knowledge management report: Writing a research paper: A practical guide for students July 31st 2018 ทำไมนักวิจัยรุ่นใหม่จึงควรมีเมนทอร์ (mentor) และโค้ช (coach)? เมนทอร์และโค้ชกับนักวิจัยรุ่นใหม่ ทั้งเมนทอร์และโค้ชมีความสำคัญยิ่งต่อเส้นทางอาชีพของนักวิจัยรุ่นใหม่อย่างมิควรมองข้าม Understanding papers and authorship (For academic support staff) Papers are a primary output of the Institute of Molecular Biosciences, and one of the ways in which the Institute is evaluated by the University. In this activity the underlying principles of papers and authorship were presented to the target audience of academic support staff. The information was given in both English and Thai to make sure there was complete understanding. The presenters were Prof. Duncan R. Smith and Dr. Poochit Nonejuie. A paper was described as a complete description of a research study, which may have taken months or years to complete. Each paper carries a list of names (the authors). It was presented that there are guidelines as to who can be considered as an author on a paper. While each journal has its own specific guidelines, the majority of journals use the International Committee of Medical Journal Editors (ICMJE) recommendations. รองศาสตราจารย์ ดร. น.สพ.ปณัฐ อนุรักษ์ปรีดา ความสัมพันธ์ระหว่าง mentor และ mentee มีประวัติมาอย่างยาวนานเริ่มจากสมัยกรีกโบราณที่มี กษัตริย์นักรบผู้มีชื่อเสียงอย่างมากในสมัยนั้น คือ Odysseusและมีmentor ผู้เป็นที่ปรึกษาและคนสนิทสนมของ กษัตริย์ Odysseus ในเวลาต่อมา mentor ได้รับการไว้วางใจให้เป็นผู้ดูแลและอบรมสั่งสอนวิชาความรู้ต่าง ๆ แก่ พระโอรสชื่อ Telemachus จึงมีการใช้คําว่า “mentor” เข้าสู้วงการวิชาการมาจนถึงปัจจุบัน ตัวอย่างหนึ่งที่ ชัดเจนจากวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง mentor และ mentee ได้แก่ ขงเบ้งผู้เปรียบเสมือนเป็น mentor ทําหน้าที่ coach ให้กับเกียงอุยศิษย์เอกเปรียบเสมือนเป็น mentee ทั้งสองเป็นครูและศิษย์ที่ทํางานร่วมกันอย่างกัลยาณมิตรอย่างสม่ําเสมอ ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่งกัน และกัน มีเป้าหมายและจุดหมายปลายทางเหมือนกัน คําว่า “mentor” มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น พี่เลี้ยง ครูอาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ชี้แนะ coach ไกด์ต้นแบบ (role model) ผู้จัดการ ที่ปรึกษาทางกฏหมาย หรือ ทนายความ เป็นต้น แต่สําหรับ “mentee” หมายถึงผู้ได้รับการอบรม สั่งสอน ชี้แนะจาก mentor วิจัยเด่นของ MB โดย ศ.เกียรติคุณ นพ.สุธี ยกส้าน แบบประเมินพัฒนาการ/ปัญหาพฤติกรรมด้านความคิดเชิงบริหาร (MU.EF-101/102) การพัฒนาและหาค่าเกณฑ์มาตรฐานเครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัยนวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล; Nuanchan Chutabhakdikul; Panadda Thanasetkorn; Orapin Lertawasdatrakul; นุชนาฏ รักษี; Nootchanart Ruksee; ปนัดดา ธนเศรษฐกร; อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล;
สถานการณ์และการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(เรบีส์)สำหรับคนและสัตว์ โรคพิษสุนัขบ้าเกิดจากเชื้อเรบีส์ไวรัส(Rabies virus) ซึ่งจัดอยู่ใน Rhab-dovirdae family มีรูปร่างคล้ายกระสุนปืน(bullet-shaped) เมื่อศูนย์วิจัยและพัฒนาวัคซีนมหาวิทยาลัยมหิดลสร้างนวัตกรรมวัคซีน แหล่งที่มา: มหิดลสาร ฉบับเดือนกรกฎาคม 2561 พันธกิจ 6 : บริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เชี่ยวชาญคลินิก / คลินิก ก.พ.อ. / ผังกระบวนการทำงาน (Flowchart) ซักซ้อมความเข้าใจการปฏิบัติงานพัสดุตามประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุและการบริหารพัสดุ สำหรับกรณีที่นักวิจัยได้รับทุนอุดหนุนวิจัยและพัฒนาจากหน่วยงานผู้ให้ทุนโดยตรง หรือผ่านหน่วยงานต้นสังกัด พ.ศ. 2561 นายวสุ โพธิสัตย์ สังกัดหน่วยบริหารและธุรการ งานบริหารจัดการ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ในหัวข้อ “ตู้เตือนไฟดับ” ให้กับบุคลากรสายสนับสนุน เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2562 เวลา 14.30-15.00 น. MEET THE DIRECTOR ครั้งที่ 6 MEET THE DIRECTOR ครั้งที่ 6 “ผู้อำนวยการพบปะชาว MB” จัดขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้บุคลากร นักศึกษา เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2562 คุณพัชร์ชวัล พึ่งถนอมจิตร์ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “การประมาณการรายรับ –รายจ่ายเงินบริการวิชาการ (พันธกิจปกติของสถาบันฯ)” โดยมีประเด็นสำคัญ ๆ ดังนี้ Meet the Director # 5th :“เป้าหมายที่ท้าทาย คือ มีพัฒนาการของผลงานอย่างต่อเนื่อง สร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มต่อสังคม ระบบบริหารที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดความมั่นคงและความก้าวหน้าของบุคลากรอย่างยั่งยืน” ศาสตราจารย์ ดร. นพ.นรัตถพล เจริญพันธุ์ ผู้อำนวยการสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล แจ้งข่าวดีให้กับบุคลากรทราบถึงผลการดำเนินงานของสถาบันฯ ในรอบปี 2561 ว่าสถาบันฯ ได้มีการพัฒนาก้าวหน้าขึ้นตามลำดับ ซึ่งเห็นได้จากจำนวนผลงานทางวิชาการและทรัพย์สินทางปัญญา, รางวัลที่นักศึกษาได้รับ, ความเป็นระบบในการบริหารจัดการระเบียบคลังและพัสดุ, คะแนนผลการประเมิน EdPEx ที่เพิ่มขึ้น ตลอดจน การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถาบันฯ และมหาวิทยาลัย ซึ่งล้วนสะท้อนถึงการที่บุคลากรของสถาบันฯ ให้ความสำคัญต่อค่านิยม WE MB และค่านิยมทั้ง 7 ของมหาวิทยาลัยมหิดล คือ M-A-H-I-D-O-L การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research: R2R) ไม่ได้มุ่งหวังเพียงแค่ได้ผลงานวิจัยเท่านั้น แต่มีเป้าหมายที่จะนำผลงานวิจัย R2R ไปใช้พัฒนางานประจำนั้น ๆ ด้วย หัวใจหลักของ R2R คือ พัฒนางานประจำที่ทำทุกวันให้เป็นผลงานวิจัย และเปลี่ยนปัญหาหน้างานให้เป็นผลงานวิจัย R2R จึงเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน เพื่อพัฒนางานขับเคลื่อนองค์กรสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) “Providing Tips to Accelerate Your Career” คำกล่าวประโยคสั้น ๆ แต่มีความหมายอย่างยั่งยืนของผู้อำนวยการสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์นรัตถพล เจริญพันธุ์ ที่กล่าวไว้ในคราวประชาสัมพันธ์ วันเปิดคลินิก ก.พ.อ. MB Excellence วันที่ 19 เมษายน 2560 ซึ่งท่านให้ความหมายของประโยคนี้อย่างชัดเจนถึงเป้าหมายและทิศทางการดำเนินงานของคลินิก ซึ่งจะเห็นว่าในการสื่อสารองค์กรทุกครั้งของกิจกรรม Meet the Director |