Research Digest

[widget id=”ajaxsearchlitewidget-3″]

แม่ลูกผูกพัน: ลดมือถือเพิ่มเวลาคุณภาพ

อาจารย์ ดร.ชุติกร นพรัตน์
ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล

ข้อมูลจากงานวิจัยพบว่า ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 เด็กมีช่วงเวลาและคุณภาพการนอนและเวลาในการมีกิจกรรมทางกายลดลง แต่ในทางกลับกันเวลาที่ใช้อยู่หน้าจอกลับมากขึ้น ซึ่งส่งผลเสียหลายอย่างทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างคาดไม่ถึง

Read more

เผยโฉมโคโรนาไวรัส สายพันธุ์เบงกอล กลายพันธุ์ 3 ตำแหน่ง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงฤดี ธารรำลึก
กลุ่มสาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์การแพทย์ระดับโมเลกุล

 

ชีวสารสนเทศเชิงโครงสร้าง เผยให้เห็นโครงสร้างโปรตีนตรงส่วนหนาม (spike protein) ที่ผิวของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์เบงกอล ซึ่งเกิดการกลายพันธุ์ 3 ตำแหน่ง ทำให้คาดการณ์ได้ว่าทำไมโคโรนาไวรัสสายพันธุ์เบงกอลจึงแข็งแกร่งมาก

ประสาทวิทยาศาสตร์ : ความรุนแรง และอาชญากรรม

รศ. ดร. นพ.วรสิทธิ์ ศิริพรพาณิชย์
ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
ข่าวมากมายเกี่ยวกับความรุนแรงและอาชญกรรม เป็นสิ่งที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้นกับตนเอง คนในครอบครัว หรือแม้กระทั่งบุคคลที่ไม่เคยรู้จักมาก่อนก็ตาม หากจะวิเคราะห์ถึงปรากฏการณ์ของความรุนแรงที่เกิดขึ้นนั้น อาจจะมีสาเหตุมาจากหลายด้าน ทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ สภาพครอบครัว หรือสภาพสังคมที่หล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมรุนแรงโดยที่เขาเองก็อาจไม่รู้ตัว

  Read more

ปัญหานอนไม่หลับ แก้ไขอย่างไรดี

รศ. ดร. นพ.วรสิทธิ์ ศิริพรพาณิชย์
ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล

การนอนไม่หลับถือเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญมาก เพราะคนส่วนใหญ่ต่างก็เคยประสบกับปัญหานอนไม่หลับกันมาแล้วทั้งนั้น แต่ภาวะนอนไม่หลับนั้นไม่ใช่ตัวโรค เป็นเพียงอาการที่อาจจะเกิดจากปัญหาสารพัดที่ท่านต้องเผชิญมาตลอดทั้งวัน แล้วยังมาทำให้ท่านต้องคิด ต้องกังวลต่อในตอนกลางคืน จนนอนไม่หลับ แต่เมื่อทุกอย่างคลี่คลาย ท่านก็จะสามารถกลับมานอนหลับได้ตามปรกติ แต่ในทางตรงกันข้าม อาการนอนไม่หลับก็อาจจะเป็นอาการที่ฟ้องว่าตัวท่านกำลังเป็นโรคบางอย่างได้เช่นกัน

Read more

ฝุ่นละออง PM 2.5 กับผลกระทบต่อการเจริญพัฒนาสมองของทารกในครรภ์

ผศ. ดร. กิตติคุณ วิวัฒน์ภิญโญ
ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล ม.มหิดล
ในระยะ 4-5 ปีที่ผ่านมานี้ ทั่วโลกเริ่มรายงานผลการวิจัยผลกระทบของปริมาณ PM 2.5 ต่อสมองและระบบประสาทที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คนกลุ่มหนึ่งที่น่าจะได้รับผลกระทบจาก PM 2.5 ที่มากกว่าคนกลุ่มอื่น คือ กลุ่มสตรีมีครรภ์ โดยสารพิษที่อยู่ในฝุ่นละอองขนาดจิ๋วนี้อาจแพร่เข้าสู่กระแสเลือด ผ่านเนื้อเยื่อของรกและสู่ทารกในครรภ์ ซึ่งส่งผลเสียต่อพัฒนาการของสมองได้

  Read more

มหัศจรรย์จุลินทรีย์ในโลกมืด

อภิรักษ์ วิเศษชาติ และ ผศ. ดร. กุศล ภูธนกิจ

เห็นจะจริงที่ว่า “เราอาศัยอยู่บนโลกของจุลินทรีย์” เพราะปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ไม่มีพื้นที่ไหนปราศจากสิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้ นับตั้งแต่อากาศ ไปจนถึงใต้มหาสมุทรอันลึกสุดประมาณ หรือแม้แต่ร่างกายของเราต่างก็เป็นแหล่งอาศัยชั้นเลิศของชีวิตเล็กๆเหล่านี้ แม้ว่าความสามารถในการมองเห็นของตามนุษย์ จะไม่สามารถมองเห็นสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ได้ จนกลายเป็นความเคยชินที่เราอาจมองข้าม ไม่เห็นความสำคัญ แต่คุณรู้หรือไม่ว่า ชีวิตเล็กๆเหล่านี้เป็นฟันเฟืองสำคัญที่ทำให้โลกเป็นโลกที่เราอาศัยอยู่ได้ในทุกวันนี้

 Read more